Skip to main content

Aquaculture

From mineral absorption to disease resistance, our nutritional technologies help aqua producers overcome challenges to support fish health and producer profitability.

We can help you with:

  • Feed efficiency
  • Antibiotic-free production
  • Food enrichment
  • Mycotoxin management
  • Gut health management
  • Protein management
  • Enzyme management
  • Mineral management

Pig

From sow productivity to meat quality, our nutritional technologies help pig producers overcome challenges to support pig health and producer profitability.

We can help you with:

  • Feed efficiency
  • Antibiotic-free production
  • Food enrichment
  • Mycotoxin management
  • Gut health management
  • Protein management
  • Enzyme management
  • Mineral management
     

Animal Nutrition

We are dedicated to working alongside producers in order to optimize the well-being and performance of animals, unleashing their true genetic potential through nutrition.

<>Header Background
Poultry
<>Featured Image
Poultry
<>Menu Icon
Beaker
<>Icon/Image with Multi-Row Text
<>Testimonial Header

Poultry

From antibiotic-free production to egg quality, our nutritional technologies help poultry producers overcome challenges to support bird health and producer profitability.

We can help you with:

  • Feed efficiency
  • Antibiotic-free production
  • Food enrichment
  • Mycotoxin management
  • Gut health management
  • Protein management
  • Enzyme management
  • Mineral management

Alltech Crop Science Iberia revoluciona el mercado agrícola con SOIL SET®

Submitted by mmolano on Mon, 09/16/2024 - 07:08

Alltech Crop Science, líder en innovación agrícola, lanza al mercado SOIL SET® un nuevo “bioestimulante vegetal no microbiano CFP 6 (B)” registrado en la Unión Europea, un avance significativo en el manejo sostenible de cultivos.

Este producto, registrado como Fertilizante UE conforme al Reglamento 2019/1009, ha sido desarrollado para potenciar la creación de suelos supresivos, reduciendo la presencia de patógenos y mejorando la salud general del suelo y de los cultivos.

SOIL SET® actúa directamente sobre el suelo, estimulando el crecimiento de las raíces y el desarrollo vegetativo de la planta. Su formulación única no solo mejora el desarrollo vegetal, sino que también incrementa la calidad de los cultivos, con una mayor producción de antioxidantes.

Además, este bioestimulante ha demostrado aumentar el rendimiento de los cultivos, un aspecto crucial para los agricultores que buscan maximizar su producción de manera sostenible. Compatible con las prácticas de Agricultura Ecológica, SOIL SET® cumple con los estrictos requisitos del Reglamento (UE) 2018/848, garantizando que su uso sea seguro y respetuoso con el medio ambiente.

Pedro Navarro, director general de Alltech Crop Science Europa, destacó la importancia de este lanzamiento: "Estamos muy emocionados de introducir SOIL SET® al mercado. Nuestro compromiso es ofrecer soluciones innovadoras que no solo mejoren el rendimiento de los cultivos y la calidad, sino que también promuevan prácticas agrícolas sostenibles. Este producto es un gran paso hacia la agricultura del futuro, donde la salud del suelo y la sostenibilidad son prioritarias."

SOIL SET® ya está disponible para los agricultores que buscan mejorar sus cultivos de manera eficiente y ecológica.

<>Premium Content
Off
<>Featured Image
<>Date
<>Featured Image License
Off
<>Feature
Off
<>Primary Focus Area
<>Article Type

MICROBUILD

Submitted by sburke on Fri, 09/13/2024 - 10:03

Microbuild is an innovative prebiotic that nurtures the gut health and overall well-being of pets. Even during bacterial challenges, Microbuild works to increase microbial diversity in the gut, boosting the animal’s natural defenses.

<>Focus Area
<>Focus Areas (taxonomy)
<>Feature
Off
<>Accordion
<>Items
<>Icons
<>Icon with Multi-Row Text
<>Contact Hubspot Embed

SOIL-SET®

Un bioestimulante desarrollado en base a procesos específicos de fermentación de precisión que combina un caldo de fermentación de Lactobacillus (Lactobacillus Ferment Filtrate) y un extracto natural rico en saponinas de Yucca.

¿Puede la Ciencia hacer frente a las fake news en el sector agroalimentario?

Submitted by mmolano on Thu, 09/12/2024 - 03:43

El GIS, AINIA y COLVET han presentado el “Manifiesto por el valor de la Ciencia en la agroalimentación”, un documento en defensa del sector productor de alimentos y bebidas de nuestro país.

El Grupo Alimentario de Innovación y Sostenibilidad (GIS) ha elaborado, en colaboración con el Consejo General de Colegios Veterinarios de España (COLVET), la Asociación Nacional de Ingenieros Agrónomos (ANIA) y la Escuela Técnica Superior de Ingeniería Agronómica, Alimentaria y de Biosistemas (ETSIAAB), un “Manifiesto el valor de la Ciencia en la Agroalimentación”.

En los últimos años, la imagen de los productores y comercializadores de alimentos, así como su reputación social, se han visto mermados debido a innumerables noticias falsas o ideologizadas, que han hecho que la sociedad crea informaciones que no obedecen a la realidad y que nada tienen que ver con la verdad científica.

El Manifiesto ha sido presentado este 11 de septiembre en el Meeting Point de Agrifood con la participación de Luis Alberto Calvo, presidente del COLVET, de María Cruz Díaz, presidenta de ANIA, José Manuel Palacios, director de la ETSIAAB y de Juan Pascual, veterinario y divulgador científico.

Las informaciones falsas, parciales o sesgadas en el ámbito de la producción, transformación y consumo de alimentos, sobre todo relacionadas con la salud y la nutrición, no solo conllevan importantes riesgos para los consumidores por la alarma infundada que crea en la sociedad. También pueden afectar, en algunos casos seriamente, a la reputación social y al valor económico de toda la cadena agroalimentaria, de las propias empresas que se ven expuestas a la difusión de este tipo de informaciones falaces, que circulan y se viralizan sin cortapisa alguna por Internet y a través de las redes sociales (RRSS) cuestionando la calidad y la plena seguridad sanitaria de nuestros alimentos

El Manifiesto quiere contribuir, por tanto, a poner la Ciencia en el centro de la información de nuestro sector agroalimentario para mostrar a los medios de comunicación, a los consumidores y también a los legisladores la realidad sobre los avances en materia de innovación y sostenibilidad (social, económica y medioambiental) que viene realizando la cadena de valor de alimentos de nuestro país.

El sector agroalimentario español es un motor esencial de la sociedad, sobre todo del medio rural, y de la economía de nuestro país. El valor de la producción bruta agraria, a precios corrientes, superó los 65.500 M€ en 2023 (segunda estimación MAPA, abril 2024) y la renta agraria se elevó a más de 32.433 millones, ayudando a generar un Valor Añadido Bruto (VAB) en el conjunto del sector agroalimentario de 119.140 millones (casi un 9% del VAB total nacional) y contribuyendo con unas exportaciones récord de más de 70.430 millones en el pasado año.

Luis Alberto Calvo, presidente del COLVET, señaló que “hay que trabajar todos en conjunto de manera transversal (Universidades, Administraciones públicas, productores, empresas, médicos…etc.) para contrarrestar la desinformación y las noticias simplistas en los medios y en las redes sociales, y evitar que la producción agroalimentaria sea denostada ante la sociedad y los consumidores, con iniciativas como la de “One Health” (“Una Sola Salud”), que integra en un todo la salud humana y animal y la sanidad vegetal.”

En esta línea, María Cruz Díaz, presidenta de ANIA, declaró que “es muy importante en esta situación tan anómala, que luchemos de forma constante y pasemos a la acción para dar visibilidad a todo el trabajo que venimos ya realizando desde las instituciones académicas y sociales para combatir desde la Ciencia y la Tecnología las informaciones parciales, sesgadas y falsas que se difunden tan rápidamente de nuestro sector agroalimentario.”

Por su parte, Ricardo Migueláñez, coordinador general del GIS, moderó la mesa redonda “El GIS contra la desinformación: ciencia en la agroalimentación”, en la que participaron José Manuel Palacios, director de la ETSIAAB, y Juan Pascual, veterinario y divulgador científico.

Las conclusiones de la Mesa dieron cuenta de la oportunidad de este Manifiesto, pero recalcando a la vez la necesidad de que los que forman parte de las distintas instituciones científico-técnicas, junto a las Administraciones públicas, grupos políticos, productores, transformadores y distribuidores, relacionados e involucrados con el sector agroalimentario, continúen realizando una labor más incisiva para contrarrestar las “fake news” sobre nuestros alimentos, que se viralizan rápidamente en nuestra sociedad, creando alarma y confundiendo y desinformando a nuestros consumidores.

Descarga el documento aquí

 

<>Premium Content
Off
<>Featured Image
<>Date
<>Featured Image License
Off
<>Feature
Off
<>Primary Focus Area
<>Article Type

Pet

From healthy coats to robust immune systems, our nutritional technologies help dogs and cats overcome challenges for healthier, happier lives.

We can help you with:

  • Global and local supply chain
  • Global and local quality assurance and traceability
  • Product formulation Innovation and applications for product development

Alltech and EnviroEquine announce licensing agreement

Submitted by jnorrie on Mon, 09/09/2024 - 10:18

[LEXINGTON, Kentucky] – Alltech and EnviroEquine, an American company specializing in the marketing of natural nutritional supplements for horses, are proud to announce a strategic licensing agreement that will feature Alltech technologies in many of EnviroEquine’s supplemental nutritional equine products.

 

EnviroEquine has created an operation that delivers true “farm-to-stable” quality, a commitment that ensures a rare level of control over every stage of production. For EnviroEquine, product integrity starts at the source. The company is focused on sustainable practices for animals, people and the planet. To that end, they work solely with suppliers committed to sustainability and excellence in quality.

 

“We are excited to partner with Alltech as they are a global leader in animal nutrition,” said Angela J. Brackett, director of development, marketing and sales at EnviroEquine. “This partnership confirms the effectiveness of EnviroEquine’s products and enhances them with science-based technology from Alltech, and we anticipate a boost in brand presence both in North America and Europe over the coming months.”

 

Alltech creates customer-centric equine solutions, working with customers to produce safe, high-quality feed solutions in a way that is in touch with equine market trends and tailored toward ensuring the health and safety of horses, all while keeping a focus on sustainability.
 

We are excited to bring these new technologies to the forefront of equine nutrition,” said Tim Karl, director of lifestyle and companion animal technologies for Alltech. “Our goal is to leverage these advancements to provide our customers with the most effective and scientifically backed nutrition solutions available. This is a leap forward in our mission to support the health and performance of horses worldwide.”

 

Alltech is committed to delivering smarter, more sustainable solutions that enhance the health and performance of plants and animals, resulting in better nutrition for all and a decreased environmental impact. Through its mission of Working Together for a Planet of Plenty®, Alltech is uniting the agri-food industry to take collective action to provide nutrition for all, revitalize local economies and replenish the planet’s natural resources. The company has forged strong industry connections by leveraging global resources and experience to offer tailored solutions for farmers and producers.

 

For more information, visit alltech.com/animal-nutrition/equine.

<>Premium Content
Off
<>Featured Image
<>Date
<>Featured Image License
Off
<>Feature
Off
<>Primary Focus Area
<>Article Type
<>Image Caption

Alltech and EnviroEquine are proud to announce their strategic licensing agreement.

ผลจาก Meta-analysis เผย สารสกัดจากผนังเซลล์ยีสต์ ส่งผลดีต่อการผลิตไข่และอาจทำให้มีผลกําไรมากขึ้น ในช่วงมีปัญหาจากสารพิษจากเชื้อรา

Submitted by kpoolsap on Thu, 09/05/2024 - 12:00

ผลการวิจัยยังแสดงให้เห็นว่าสารพิษจากเชื้อราอาจส่งผลเสียต่อนํ้าหนักตัวไก่ไข่ ผลผลิตไข่ และนํ้าหนักของไข่

 

[ดันบอยน์ ไอร์แลนด์] – ออลเทคได้ประการศผลการศึกษาใหม่ ซึ่งเน้นยํ้าถึงผลดีอย่างมีนัยสําคัญของการเสริมสารสกัดจากผนังเซลล์ยีสต์ต่อประสิทธิภาพของไก่ไข่ในช่วงที่พบปัญหาสารพิษจากเชื้อรา

 

Meta-Analysis of the Effects of Yeast Cell Wall Extract Supplementation during Mycotoxin Challenges on the Performance of Laying Hens ซึ่งถูกตีพิมพ์ในเดือนมีนาคม 2024 ในวารสาร Toxins แสดงให้เห็นว่าการเสริมสารสกัดจากผนังเซลล์ยีสต์ (YCWE,  Mycosorb®, Alltech, Inc., KY) ในอาหารสัตว์ ใช่ช่วงที่พบปัญหาสารพิษจากเชื้อรา ส่งผลให้นํ้าหนักตัวของไก่ไข่เพิ่มขึ้น 12.5 กรัม (ก.) และผลผลิตไข่และนํ้าหนักไข่เพิ่มขึ้นได้ถึง 4.2 เปอร์เซ็นต์ และ 1.37 กรัม ตามลําดับ

 

Meta-analysis แสดงให้เห็นว่าไก่ไข่ที่ได้รับสารพิษจากเชื้อรามีนํ้าหนักตัวลดลง (50 กรัม) การผลิตไข่ลดลง (6.3 เปอร์เซ็นต์) และนํ้าหนักไข่ลดลง (1.95 กรัม) เมื่อเทียบกับไก่ที่เลี้ยงในกลุ่มควบคุม การวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจชี้ให้เห็นว่าการเสริม YCWE ไม่เพียงแต่ช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิต แต่ยังอาจส่งผลให้ผลตอบแทนจากการลงทุนเป็นบวก ใน meta-analysis ได้มีการคํานวณผลผลิตและผลกําไร ซึ่งได้ผลดังนี้:

         ไข่ +2.7 ฟอง ต่อแม่ไก่ที่เข้าเลี้ยง (hens house: HH) ในช่วง 9.5 สัปดาห์

         โปรตีนที่กินได้ต่อ HH +29.7 กรัม  

         ผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) 4.65:1

 

"ตามความรู้ของนักวิจัย นี่เป็นครั้งแรกที่มีการศึกษาการวิเคราะห์อภิมาน (meta-analysis) ในไก่ไข่ ซึ่งไม่ได้ประเมินผลกระทบของสารพิษจากเชื้อราเพียงอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการใช้กลยุทธ์การบรรเทาสารพิษจากเชื้อราสำหรับตัวชี้วัดประสิทธิภาพการผลิตที่สําคัญ" ดร. อเล็กซานดรา วีเวอร์, global technical support จาก Alltech Technology Group กล่าว

 

การวิเคราะห์อภิมานนี้ได้วิเคราะห์และประเมินการทดลองทั้งหมด 25 รายการ และดึงข้อมูลจากการทดลอง 8 รายการที่ตรงตามเกณฑ์การคัดเลือก ซึ่งประกอบไปด้วย 12 ทรีตเมนต์ และเกี่ยวข้องกับไก่ไข่ 1774 ตัว การวิเคราะห์อภิมานยืนยันว่าการมีสารพิษจากเชื้อราส่งมีผลกระทบต่อนํ้าหนักตัว การผลิตไข่ และนํ้าหนักของไข่ รวมไปถึง YCWE มีส่วนช่วยลดผลกระทบต่อการผลิตและคุณภาพของไข่ แม้จะได้รับสารพิษจากเชื้อราในระดับสูง ดังนั้นการใช้ YCWE จึงสามารถช่วยเพิ่มผลผลิต โปรตีนที่กินได้ และเพิ่มผลประกอบการในฟาร์มในช่วงที่เผชิญปัญหาจากสารพิษจากเชื้อรา

 

โดยรวมแล้ว การวิเคราะห์อภิมานเน้นยํ้าถึงความสําคัญของการจัดการกับปัญหาของสารพิษจากเชื้อราในการผลิตไก่ไข่ และชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ของ YCWE ในการลดผลกระทบเหล่านั้นและเพิ่มความสามารถในการทํากําไรให้ผู้ผลิต

 

ด้วยหลักฐานสนับสนุนจากการวิจัยทางวิทยาศาสตร์มานานกว่า 40 ปี ออลเทคนําเสนอโซลูชั่นและผลิตภัณฑ์ทางโภชนาการที่นําไปสู่ความสําเร็จของอุตสาหกรรมสุขภาพสัตว์ทั่วโลก การศึกษาใหม่นี้เป็นการแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่องของออลเทคในการส่งมอบโซลูชั่นที่ชาญฉลาดและยั่งยืนยิ่งขึ้นเพื่อการเกษตร ที่มุ่งให้ประโยชน์ต่อสุขภาพที่ตรงเป้าหมาย พร้อมทั้งเพิ่มผลผลิต สนับสนุนสวัสดิภาพของสัตว์ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และเพิ่มผลกําไรของผู้ผลิต

 

คลิก ที่นี่ เพื่ออ่าน mata-analysis เรื่องผลของการเสริม YCWE ต่อการผลิตไก่ไข่ และอ่านข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Mycosorb ได้ที่ www.knowmycotoxins.com/mycotoxin-mitigation/mycosorb-a/

<>Premium Content
Off
<>Featured Image
<>Date
<>Featured Image License
Off
<>Feature
On
<>Article Type
<>Image Caption

 Meta-analysis ใหม่ แสดงให้เห็นว่าการเสริมสารสกัดจากผนังเซลล์ยีสต์ในรูปของ Mycosorb® ในช่วงที่มีปัญหาเรื่องสารพิษจากเชื้อราจะเป็นประโยชน์ต่อการผลิตไข่และอาจทำให้ได้ผลกําไรมากขึ้น

ไมโครไบโอมกับการเสริมสร้างสุขภาพสัตว์ปีกและความปลอดภัยในอาหาร

Submitted by kpoolsap on Thu, 09/05/2024 - 11:55

สุขภาพทางเดินอาหารและการจัดการเกี่ยวกับสุขภาพทางเดินอาหารเป็นเรื่องที่ซับซ้อนและละเอียดอ่อน เพราะถูกควบคุมโดยปัจจัยหลายประการ ได้แก่ โภชนาการ จุลชีววิทยา ภูมิคุ้มกันวิทยา และสรีรวิทยา เมื่อสุขภาพทางเดินอาหารถูกทำลายจะส่งผลเสียต่อ การย่อยและการดูดซึมสารอาหาร, การเปลี่ยนอาหารเป็นพลังงานแย่ลง, และความไวต่อโรคจะเพิ่มขึ้น ซึ่งท้ายที่สุดก็จะส่งผลเสียในเชิงเศรษฐกิจ

 

ทําความเข้าใจกับไมโครไบโอมของสัตว์

ชุมชนของจุลินทรีย์ในลําไส้เรียกว่า "ไมโครไบโอม" และได้รับการยอมรับว่าเป็นชุมชนที่มีความหลากหลายของ แบคทีเรีย เชื้อรา โปรโตซัว และไวรัส ความหลากหลายของจุลินทรีย์จะแตกต่างกันไปตามแต่ละส่วนของทางเดินอาหาร (GI) โดยบางส่วนมีสภาวะที่ไม่เอื้อต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์จะมีความหลากหลายของจุลินทรีย์น้อยกว่าส่วนที่เอื้อต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์

ไมโครไบโอมในระบบทางเดินอาหารมีบทบาทสําคัญต่อการทํางานทางโภชนาการ สรีรวิทยา และภูมิคุ้มกัน สุขภาพลําไส้ที่ไม่ดีสัมพันธ์กับการก่อตัวของเชื้อโรคและความไวต่อโรคติดเชื้อ และนำไปสู่การเติบโตที่แย่ลงและอัตราการตายที่สูงขึ้น

ภายในทางเดินอาหารมีปฏิสัมพันธ์หลายอย่างระหว่างโฮสต์ สิ่งแวดล้อมในลำไส้ และเซลล์จุลินทรีย์ รวมถึงส่วนประกอบของอาหาร ปฏิสัมพันธ์เหล่านี้เน้นย้ำถึงความสำคัญของไมโครไบโอมในการรักษาสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของโฮสต์ แม้ว่าจะยังไม่เข้าใจถึงรายละเอียดทั้งหมดว่ามันทำงานอย่างไร

 

บทบาทของความหลากหลายของจุลินทรีย์ในการลดเชื้อโรคในไก่

ความหลากหลายของไมโครไบโอมมีบทบาทสําคัญต่อสุขภาพทางเดินอาหาร โดยจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์จะเป็นชั้นป้องกันในลําไส้จากการเจริญเติบโตของแบคทีเรียก่อโรค เช่น Salmonella, Campylobacter, Clostridia และ Escherichia เป็นต้น

มีทฤษฎีมากมายเกี่ยวกับวิธีที่จุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ใช้ป้องกันการตั้งถิ่นฐานของเชื้อก่อโรค บางทฤษฎีเสนอว่าจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ครอบครองที่ยึดเกาะบนเซลล์ทางเดินอาหาร ลดโอกาสในการเกาะและตั้งถิ่นฐานของเชื้อโรค อีกทฤษฎีหนึ่งเสนอว่าจุลินทรีย์ในลําไส้หลั่งสารประกอบ เช่น กรดไขมันระเหยง่าย, กรดอินทรีย์ และสารต้านจุลชีพธรรมชาติ ที่ยับยั้งการเจริญเติบโตหรือทำให้สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อแบคทีเรียที่ไม่เป็นประโยชน์

การวิจัยล่าสุดได้แสดงให้เห็นว่าความหลากหลายของจุลินทรีย์ในลำไส้ที่เพิ่มขึ้น สัมพันธ์กับความต้านทานต่อการตั้งถิ่นฐานของเชื้อก่อโรคที่เพิ่มขึ้นเช่นกัน โดยสรุปคือยิ่งความหลากหลายของจุลินทรีย์ในทางเดินอาหารมีมากขึ้นเท่าไร ความเสี่ยงในการตั้งถิ่นฐานของเชื้อโรคก็น้อยลงเท่านั้น

การเพิ่มความหลากหลายของจุลินทรีย์ในลำไส้โดยรวมสามารถลดจำนวนเชื้อโรค ซึ่งรวมถึงเชื้อโรคที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของโฮสต์และเชื้อโรคที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาหาร

สารเสริมที่มุ่งเน้นการเพิ่มและปรับปรุงความหลากหลายของจุลินทรีย์ในลำไส้ เพื่อช่วยสุขภาพทางเดินอาหารและลดความไวต่อโรคของสัตว์ สามารถแบ่งออกเป็น prebiotics และ probiotics ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา การศึกษามุ่งเน้นไปที่การระบุว่าโภชนาการมีประโยชน์ต่อจุลินทรีย์ในทางเดินอาหารอย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำความเข้าใจว่าการเพิ่มความหลากหลายของจุลินทรีย์มีผลต่อสุขภาพและประสิทธิภาพการผลิตของสัตว์อย่างไรบ้าง

ท้ายที่สุดแล้ว เป้าหมายของการแทรกแซงทางโภชนาการไม่เพียงแต่เพื่อควบคุมเชื้อโรคที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของโฮสต์ แต่ยังเพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อโรคผ่านห่วงโซ่อาหารอีกด้วย

 

การใช้ prebiotic mannan-rich fraction เพื่อเพิ่มความหลากหลายของจุลินทรีย์

จากมุมมองทางโภชนาการ สารเสริมอาหารสัตว์จํานวนมากมุ่งเน้นไปที่การรักษาสมดุลของจุลินทรีย์ในลําไส้เพื่อช่วยสร้างสุขภาพลําไส้ที่ดีและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคของสัตว์

ในบรรดาส่วนผสมที่มีประสิทธิภาพสำหรับการควบคุมจุลินทรีย์ในปัจจุบัน mannan-rich fraction (MRFs) ที่สกัดจากผนังเซลล์ของยีสต์ถูกนำมาใช้กันอย่างแพร่หลายในการเลี้ยงสัตว์ และแสดงให้เห็นว่าสามารถช่วยปรับปรุงสมรรถนะของสัตว์โดยสามารถใช้เป็นทางเลือกแทนการใช้ยาปฏิชีวนะ

ผลิตภัณฑ์ MRF ส่วนใหญ่ที่ได้มาจากผนังเซลล์ของยีสต์ Saccharomyces cerevisiae มีจำหน่ายเชิงพาณิชย์ตั้งแต่ต้นทศวรรษ 1990 และมีการใช้ในอาหารสัตว์แพร่หลายมากขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1999 เกิดจากการห้ามใช้ยาปฏิชีวนะที่ใช้เร่งการเจริญเติบโตในการเลี้ยงสัตว์ในยุโรป ด้วยความสามารถในการจับและจำกัดการตั้งถิ่นฐานของเชื้อโรคในระบบทางเดินอาหาร MRFs ได้พิสูจน์แล้วว่าเป็นวิธีแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพเพื่อการผลิตอาหารที่ปราศจากยาปฏิชีวนะ และยังช่วยส่งเสริมภูมิคุ้มกันและการย่อยอาหารอีกด้วย

ผลของการเสริม MRF ต่อสุขภาพและสมรรถนะของสัตว์ ได้รับการศึกษาอย่างละเอียด และแสดงให้เห็นว่า MRF มีประสิทธิภาพในสร้างเสริมการเจริญเติบโตและประสิทธิภาพในการเปลี่ยนอาหารเป็นพลังงานของสัตว์

การศึกษาชิ้นใหม่ๆ มุ่งเน้นไปที่ผลของ MRFs ต่อชุมชนแบคทีเรียโดยรวมในลำไส้ไม่เพียงเฉพาะแบคทีเรียบางชนิดเท่านั้น และการศึกษาดังกล่าวได้แสดงให้เห็นว่าการเสริม MRF สามารถเพิ่มความหลากหลายของจุลินทรีย์ในลำไส้ได้อย่างมีนัยสำคัญ การศึกษายังแสดงให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงนี้สัมพันธ์กับการลดจำนวนเชื้อโรคที่เป็นอันตรายต่อความปลอดภัยของอาหาร เช่น Salmonella, Campylobacter และ E. coli อีกด้วย

บทสรุป

การผลิตสมัยใหม่อาจทำให้เกิดปัญหาความหลากหลายของจุลินทรีย์ในทางเดินอาหาร ในบางกรณีส่งผลให้เกิดความไม่สมดุลที่ก่อผลเสีย ซึ่งอาจนำไปสู่วงจรการตั้งถิ่นฐานและการกลับมาตั้งถิ่นฐานของเชื้อก่อโรค การปรับปรุงความหลากหลายของจุลินทรีย์ภายในลำไส้โดยรวม ทำให้เราสามารถตั้งเป้าที่จะใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ในลำไส้ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ซึ่งจะช่วยเพิ่มความต้านทานต่อการตั้งถิ่นฐานของเชื้อโรคและลดจำนวนจุลินทรีย์ที่เป็นอันตรายต่อความปลอดภัยของอาหารได้

การปรับความเข้าใจของเราเรื่องการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบชุมชนแบคทีเรียในทางเดินอาหารที่มีส่วนช่วยต่อสุขภาพและสมรรถนะของโฮสต์มีความสำคัญ อย่างไรก็ตาม ด้วยการมองที่องค์ประกอบของชุมชนแบคทีเรียทั้งหมด แทนที่จะมองเฉพาะแบคทีเรียที่เป็นประโยชน์หรือเป็นอันตราย เราอาจเริ่มเข้าใจว่าโภชนาการส่งผลเฉพาะต่อไมโครไบโอมได้อย่างไร

________________________________________

เกี่ยวกับผู้เขียน:

ดร. ริชาร์ด เมอร์ฟี เป็นผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยที่ศูนย์วิทยาศาสตร์ชีวภาพยุโรปของออลเทค ในเมืองดันบอยน์ ประเทศไอร์แลนด์ เขาได้รับปริญญาตรีสาขาชีวเคมีในปี ค.ศ. 1994 จากมหาวิทยาลัยแห่งชาติไอร์แลนด์ กัลเวย์ ต่อมาได้รับทุนวิจัยจากออลเทคและได้รับปริญญาเอกในภาควิชาชีวเคมีที่มหาวิทยาลัยแห่งชาติไอร์แลนด์ กัลเวย์ ในปี ค.ศ. 1999

ดร. เมอร์ฟี มีความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นกับมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยหลายแห่ง และได้รับการแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์พิเศษที่คณะวิทยาศาสตร์และการศึกษาสุขภาพที่มหาวิทยาลัยดับลินซิตี้ เขายังทำหน้าที่เป็นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์สำหรับหลักสูตรระดับปริญญาตรีและเป็นคณะกรรมการบริหารของสถาบันชีววิทยาเซลล์แห่งชาติที่มหาวิทยาลัยดับลินซิตี้

งานวิจัยปัจจุบันของเขามีความหลากหลาย เช่น peptide biomarker detection, molecular fingerprinting of microbial populations, antimicrobial resistance, biogas production and transcriptional control, and regulation of protein production

 

 

 

 

<>Premium Content
Off
<>Featured Image
<>Date
<>Featured Image License
Off
<>Feature
Off
<>Article Type
Loading...