Skip to main content

Cumbre de sistemas alimentarios de Naciones Unidas 2021. Precumbre

Submitted by mmolano on Tue, 07/27/2021 - 06:45

27 DE JULIO DE 2021 | 19:30h-20:20h CEST | 13:30h-14:20h EDT.

Eficiencia en el uso de los recursos globales para la producción de proteína en los sistemas alimentarios | ALLTECH®

Los alimentos que consumimos nos reúnen a todos en familia, en comunidades y como naciones. Afianzan nuestras culturas, nuestras economías y nuestras relaciones con el medio natural.

El Secretario General de las Naciones Unidas ha convocado una Cumbre de Sistemas Alimentarios para desplegar el poder de los alimentos, con el fin de lograr avances en cada uno de los 17 Objetivos de Desarrollo Sostenible de las Naciones Unidas. La Cumbre 2021 de Sistemas Alimentarios de Naciones Unidas se celebrará en septiembre.

Un evento previo a la cumbre tendrá lugar virtualmente del 26 al 28 de julio de 2021 para consolidar la importante labor de la Cumbre en una visión común y marcar el rumbo hacia una ambición audaz y un compromiso para actuar.

Alltech tiene el honor de haber sido seleccionada para organizar la sesión del 27 de julio, durante la Precumbre de los Sistemas Alimentarios de Naciones Unidas. Nos complace invitarle a asistir a nuestra sesión virtual.

Tema: Eficiencia en el uso de recursos globales para la producción de proteína en los sistemas alimentarios.

Horario: Martes, 27 de julio a las 19:30-20:20 h, en Roma. (Se enviará una grabación de vídeo por email a todos los inscritos, cuando haya terminado la presentación en directo.)

Descripción: Para garantizar la futura seguridad alimentaria, debemos considerar todas las alternativas en la producción de proteína de alta calidad, con objetivo de alimentar a una población de 9.700 millones de personas en 2050. Aunque haya un entusiasmo generado por las proteínas alternativas, muchas nuevas fuentes de proteína que salen al mercado, simplemente recolocan los nutrientes existentes en productos cárnicos y lácteos, usando una base vegetal, y por lo tanto dando como resultado un aumento neto nulo de la disponibilidad de proteína total. Simultáneamente, las sugerencias de reducir la producción ganadera podrían ocasionar un déficit de proteína y otros nutrientes esenciales que no pueda ser cubierto con cultivos, debido a las limitaciones de disponibilidad de tierras agrícolas y de agua y a los diferentes perfiles nutricionales de estos alimentos.

Únase a nosotros en este debate sobre la seguridad de suministro de proteína en el futuro, centrándonos en maximizar la eficiencia de los recursos de la producción, sin consecuencias sociales, ni culturales ni medioambientales negativas.

INSCRÍBASE AHORA AQUÍ

 

CONFERENCIANTES:

  • Dr. Vaughan Holder, moderador. Director de Investigación en rumiantes, Alltech.
  • Dra. Sara Place. Directora de Sostenibilidad, Elanco Salud Animal.
  • Dr. Tryon Wickersham. Profesor asociado, Nutrición animal, Texas A&M University.
  • Amanda Radke. Blogger del BEEF Daily, Revista BEEF.
  • Dra. Jude Capper. Profesora y Catedrática ABP en Producción sostenible de carne de vacuno, Harper Adams University.
<>Premium Content
Off
<>Featured Image
<>Date
<>Featured Image License
Off
<>Feature
Off
<>Primary Focus Area
<>Article Type

BEEF: What would you tell the United Nations about beef production?

Submitted by jnorrie on Mon, 07/26/2021 - 15:46

This week, I’m prepping to speak on a panel for the United Nations Food Systems Summit. The event will focus on the future of safe, nutritious food, advancements in production agriculture, “sustainable” diets, systems changes due to COVID-19, climate-friendly foods, and creating a system that is resilient to global stressors.

แก้ไขความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ กับ กิวโด โครลลา

Submitted by kpoolsap on Mon, 07/26/2021 - 08:49

เมื่อเร็วๆ นี้ Alltech Coppens ได้เผยแพร่รายงานความยั่งยืน ซึ่งให้ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรของโลกเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างรับผิดชอบ ในขณะที่อุตสาหกรรมนี้ดำเนินการเพื่อสนับสนุนการผลิตอาหารทั่วโลก กิวโด โครลลา ผู้จัดการแผนกจัดซื้อของ Alltech Coppens กล่าวถึงเป้าหมายอันยิ่งใหญ่ตามที่ระบุในรายงานและเน้นย้ำถึงความสำเร็จของอุตสาหกรรมซึ่งช่วยฟื้นฟูภาพลักษณ์แง่ลบเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่สื่อนำเสนอ

ข้อความต่อไปนี้เป็นบันทึกบนสนทนาในพอดคาสต์ Ag Future ระหว่าง กิวโด โครลลา และพิธีกร ทอม มาร์ติน คลิกที่นี่ เพื่อฟังบันทึกเสียงเต็มหรือฟังเฉพาะตอนดังกล่าวบน Apple Podcasts หรือ Spotify

 

Tom: ผมทอม มาร์ติน แขกรับเชิญของผมในวันนี้คือ กิวโด โครลลา ผู้จัดการแผนกจัดซื้อของ Alltech Coppens เขาคนนี้เป็นผู้เชี่ยวชาญระดับโลกในด้านการพัฒนา การผลิต และการทำการตลาดของอาหารและผลิตภัณฑ์ด้านโภชนาการของปลา คุณโครลลามีบทบาทเป็นหัวเรือใหญ่ในการจัดทำรายงานที่ระบุข้อมูลเกี่ยวกับความมุ่งมั่นของบริษัทฯ ที่มีต่อแนวคิดเรื่องความยั่งยืน และวันนี้เขาจะมาพูดคุยเกี่ยวกับเรื่องนี้ให้เราฟัง สวัสดีครับ กิวโด

Guido: สวัสดีครับ ทอม

 

Tom: Alltech ยึดถือและปฏิบัติตามเป้าหมายด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ 9 ข้อจากทั้งหมด 17 ข้อ คุณช่วยอธิบายให้เราฟังหน่อยว่า Coppens ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ Alltech ดำเนินการอย่างไรบ้างเพื่อสนับสนุนเป้าหมายนั้น

 

Guido: Alltech ยึดถือและปฏิบัติตามเป้าหมายโดยลงนามในข้อตกลงโลกของสหประชาชาติ (United Nations Global Compact) ในเดือนกรกฎาคม ปี 2019 และกำหนดวิสัยทัศน์ ‘Planet of Plenty’ ขึ้นมา ในฐานะบริษัทย่อยของ Alltech สิ่งนี้นำมาซึ่งความเป็นไปได้และโอกาสต่างๆ มากมายตามมา หนึ่งในเป้าหมาย SDGs ที่ Alltech ยึดถือปฏิบัติคือเป้าหมายข้อ 14 ซึ่งว่าด้วยสิ่งมีชีวิตใต้น้ำ เป้าหมายข้อนี้สอดคล้องกับการทำงานของพวกเราที่ Alltech Coppens อย่างเหมาะเจาะ เนื่องจากงานประจำวันของเราเกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตที่อยู่ใต้น้ำ

เราเชื่อว่าเราทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้างโลกที่ดีกว่า และช่วยเพิ่มความตระหนักรู้เกี่ยวกับเป้าหมาย SDG ข้อนี้ได้ ด้วยเหตุนี้เอง Alltech Coppens จึงได้สร้างทีมความยั่งยืนขึ้นมาเป็นของตัวเอง เราเรียกทีมนี้ว่าทีม Planet of Plenty ซึ่งประกอบไปด้วยสมาชิก 7 คนจากแผนกต่างๆ การตั้งทีมนี้ขึ้นมาเปิดโอกาสให้เราสร้างความตระหนักรู้ภายในบริษัทให้เพิ่มมากขึ้นได้ภายในเวลาอันสั้น เนื่องจากแผนกต่างๆ ส่วนใหญ่ได้เข้ามาทำงานเกี่ยวข้องกับทีม นอกจากนี้ เรายังได้ติดต่อไปยังสมาชิกทีม Planet of Plenty ในสหรัฐฯ และเพื่อนร่วมงานทั่วโลกซึ่งทำงานในด้านความยั่งยืนไปพร้อมๆ กันด้วย ภายใต้การดำเนินงานของ Alltech Coppens เราเชื่อว่าการสื่อสารและการแบ่งปันข้อมูลคือกุญแจสำคัญที่จะทำให้เราดำเนินการตามวิสัยทัศน์ Planet of Plenty ได้สำเร็จ และคุณอาจจะได้ยินชื่อนี้ซ้ำอีกหลายๆ ครั้งตลอดพอดคาสต์ตอนนี้ ผมคิดว่าเราจะสามารถบรรลุเป้าหมายของ Planet of Plenty ได้ก็ต่อเมื่อเราทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดครับ ทอม

 

Tom: Alltech Coppens ทำการค้นคว้า พัฒนา และนำทางเลือกที่ดีกว่ามาปรับใช้ในแนวทางการดำเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมการประมงอย่างไร?

 

Guido: แผนก R&D ของ Alltech Coppens และแผนกจัดซื้อของเราได้ทำการประเมินวัตถุดิบทั้งหมดที่ใช้ในผลิตภัณฑ์เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เราตรวจสอบว่าวัตถุดิบนั้นนำมาจากแหล่งที่ยั่งยืนและถูกนำไปใช้อย่างมีความรับผิดชอบ และจะสร้างประโยชน์ต่อผลการดำเนินงานของฟาร์มได้ในอนาคต ตลอดจนในอุตสาหกรรมและโลกของเราได้ในที่สุด อาหารแต่ละชนิดจึงมีลักษณะเฉพาะตามสถานการณ์ที่สอดคล้องกันในภาคส่วนต่างๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การทำให้เป็นกรด เป็นต้น

การประเมินจำนวนอาหารสัตว์ที่เราผลิต รวมไปถึงปริมาณของวัตถุดิบหรือส่วนผสมแต่ละชนิดที่เราใช้ในอาหารสัตว์ และที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของซัพพลายเออร์ ทำให้เราสามารถประเมินวัตถุดิบได้ เรามุ่งมั่นที่จะบรรลุเป้าหมาย SDGs ของสหประชาชาติและประเมินแหล่งที่มาของวัตถุดิบให้ได้สำเร็จ เมื่อปีที่แล้ว 80% ของวัตถุดิบที่เราจัดหามานั้นผลิตขึ้นในยุโรป 20% มาจากประเทศเยอรมนีซึ่งมีโรงงานของเราตั้งอยู่ 60% มาจากเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ของเรา และเราคาดว่าตัวเลขเหล่านี้จะค่อยๆ เพิ่มขึ้นทั้งในปีนี้และปีต่อๆ ไป ปัจจุบัน คุณภาพของอาหารปลาไม่ได้ถูกกำหนดโดยตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับปลาโดยตรง อย่างเช่น ประสิทธิภาพ เท่านั้น แต่ยังต้องคำนึงถึงผลกระทบของอาหารนั้นๆ ที่มีต่อโลกอีกด้วย ดังนั้น เราจึงทำการทดลองมากมายเกี่ยวกับวัตถุดิบทางเลือก เช่น แมลงป่น และโปรตีนเซลล์เดียว เราจะเดินหน้าเฟ้นหาวัตถุดิบทางเลือกใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นที่การลดผลกระทบของอาหารสัตว์ที่มีต่อสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ

 

Tom: จากที่คุณกล่าวมา หมายความว่าตอนนี้คุณกำลังทำงานร่วมกับบริษัทอื่นๆ ทั่วโลกเพื่อเพิ่มความยั่งยืนให้กับอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำใช่ไหมครับ?

 

Guido: ถูกต้องครับ ถ้าคุณต้องการสร้างโลกที่ยั่งยืนและดำเนินการตามวิสัยทัศน์ Planet of Plenty ให้สำเร็จ พวกเราทุกคนต้องร่วมมือกัน ดังนั้น เราจึงทำงานอย่างใกล้ชิดร่วมกับโรงงานที่เป็นพันธมิตรในท้องถิ่นเพื่อทำการผลิตที่มีประสิทธิภาพ และพยายามลดผลกระทบเชิงลบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมไปด้วยพร้อมๆ กัน เราได้แบ่งปันความรู้และประสบการณ์ เพราะต้องการผลิตอาหารสัตว์ที่ดีกว่าให้กับชุมชนในท้องถิ่น และลดอัตราการแลกเนื้อ (Feed Conversion Ratio) การทำเช่นนี้ทำให้เราไม่เพียงแต่ผลิตอาหารได้มากขึ้นและได้ผลลัพธ์เป็นอาหารที่มีคุณภาพดีขึ้นเพื่อชุมชนเท่านั้น แต่ยังสามารถลดปริมาณการใช้วัตถุดิบลงอีกด้วย เรียกว่าได้ประโยชน์กันทั้งสองฝ่าย

 

Tom: ความยั่งยืนถูกนำมาบูรณาการในกลยุทธ์ทางธุรกิจของ Coppens อย่างไร และเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่ของกลยุทธ์ที่ว่านี้คืออะไร?

 

Guido: ที่ Alltech Coppens เราได้แรงบันดาลใจจากความท้าทายที่อยู่ตรงหน้าเราในโลกของเราในการที่จะผลิตอาหารที่ปลอดภัยและมีโภชนาการให้ได้ในปริมาณที่เพียงพอ พร้อมๆ ไปกับการใส่ใจชีวิตของสัตว์และดูแลผืนดิน อากาศ และทรัพยากรน้ำของเราให้ยั่งยืนเพื่อลูกหลานในอนาคต Planet of Plenty คือวิสัยทัศน์ที่เป็นทั้งคำมั่นสัญญา โอกาส และการมองโลกในแง่บวกต่ออนาคตของเราครับ

เราสามารถสร้างโลกที่อุดมสมบูรณ์ขึ้นมาได้ เพียงแค่พวกเราทุกคนร่วมมือกัน ที่ Alltech Coppens เราให้ความสำคัญต่อ 3 ด้านหลัก ด้านแรกคือการดำเนินงานที่ยั่งยืน ด้านที่สองคือวิทยาศาสตร์และนวัตกรรม และด้านที่สามคือผู้คนและชุมชน ถ้าหากคุณเข้าไปดูในเว็บไซต์ของเรา alltechcoppens.com คุณจะพบตัวอย่างของการบูรณาการเรื่องความยั่งยืนเข้าไปในธุรกิจของเรา นับตั้งแต่ดัชนีอาหารสัตว์ที่ยั่งยืน การนำทรัพยากรน้ำกลับมาใช้ซ้ำ การก่อตั้งกลุ่ม Alltech Coppens Academy เพื่อดูแลเรื่องการจัดการของเสีย และอีกมากมาย ส่วนในระยะยาว เราได้ตั้งเป้าหมายไว้ว่าจะพัฒนาให้ Alltech Coppens Aqua Centre ก้าวไปสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutral) ให้ได้ภายในปี 2025 ดังนั้น ภายใน 3 ปีครึ่งต่อจากนี้ เราจะเพิ่มการใช้พลังงานหมุนเวียนให้มากขึ้น และจะปรับตัวให้เป็นองค์กรที่ใช้เพียงพลังงานหมุนเวียนเท่านั้นให้ได้ภายในปี 2030 และจะปล่อยของเสียให้เป็นศูนย์โดยใช้วิธีการรีไซเคิลและนำวัตถุดิบมาใช้ซ้ำตลอดวัฏจักรการผลิตอาหารปลาของเราภายในปี 2030

 

Tom: คำถามข้อนี้อาจมีคำตอบที่ชัดเจนอยู่แล้ว หรือก็อาจจะไม่ ทำไมการสร้างความยั่งยืนในระยะยาวจึงเป็นสิ่งที่ธุรกิจควรให้ความสำคัญ?

 

Guido: ถ้าจะให้พูดง่ายๆ คือ ความยั่งยืนเป็นแนวทางการดำเนินธุรกิจแบบหนึ่งที่ช่วยป้องกันความล้มเหลวในระยะยาวด้วยการคำนึงถึงวิธีการดำเนินธุรกิจทั้งในแง่ของนิเวศวิทยา สังคม และสิ่งแวดล้อม เมื่อความคาดหวังที่มีต่อความรับผิดชอบขององค์กรเพิ่มมากขึ้น และเมื่อความโปร่งใสกลายเป็นสิ่งที่หลายฝ่ายให้ความสำคัญเป็นอันดับต้นๆ บริษัทต่างๆ จึงเล็งเห็นถึงความจำเป็นในการขานรับต่อแนวคิดเรื่องความยั่งยืน ลำพังแค่การสื่อสารอย่างมืออาชีพและเจตนารมณ์ที่ดีนั้นไม่เพียงพออีกต่อไป เพราะความยั่งยืนคือความท้าทายครั้งใหญ่ เป็นความท้าทายที่เราทุกคนต้องเผชิญ ไม่ใช่เฉพาะในฐานะบริษัทเท่านั้น แต่เป็นเพราะเราทุกคนล้วนต้องการสร้างธุรกิจที่ประสบความสำเร็จและสามารถดำรงอยู่ต่อไปได้ในระยะยาว และเราจะสามารถบรรลุเป้าหมายนั้นได้ก็ต่อเมื่อเราบูรณาการแนวคิดเรื่องความยั่งยืนเข้ามาเป็นหัวใจหลักในธุรกิจ

 

Tom: มีส่วนหนึ่งในรายงานความยั่งยืนของคุณที่ระบุว่าคุณตรวจสอบการประเมินวัตถุดิบและซัพพลายเออร์ ทุกวันนี้เรามักจะได้ยินเรื่องราวปัญหาที่น่าเป็นห่วงเกี่ยวกับห่วงโซ่อุปทานอยู่บ่อยๆ ในฝั่งของอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเอง ต้องเจอกับปัญหาในลักษณะดังกล่าวเหมือนกันหรือไม่?

 

Guido: เจอเหมือนกันครับ เราเผชิญกับปัญหาและความท้าทายเฉกเช่นเดียวกับอุตสากรรมใหญ่อื่นๆ มีทั้งปัญหาเรื่องรัฐบาลเข้ามาแทรกแซงด้านภาษีนำเข้าและส่งออก มีสงครามการค้า การประท้วง สภาพภูมิอากาศที่รุนแรง แล้วก็มีเรื่องโรคโควิด-19 ปัญหาด้านระบบโลจิสติกส์ที่กระจายเป็นวงกว้างไปทั่วโลก และอีกมากมาย ส่วนที่ยากที่สุดคือลูกค้าของเราและสัตว์ที่อยู่ในการดูแลของพวกเขาจำเป็นต้องพึ่งพาผู้เชี่ยวชาญด้านอาหารของเรา เราไม่สามารถเลื่อนตารางนัดหมายให้ล่าช้าไป 1 สัปดาห์หรือนานกว่านั้นได้ เพราะแค่เราล่าช้าไป 1 วันก็อาจก่อให้เกิดผลร้ายแรงตามมาได้ เพราะฉะนั้น ที่ Alltech Coppens เราจึงติดตามสถานการณ์ทุกอย่างและบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายอย่างต่อเนื่องเพื่อเตรียมการให้พร้อมอย่างดีที่สุด

 

Tom: มีสารคดีเรื่องหนึ่งที่เริ่มฉายบน Netflix เมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ชื่อว่า Seaspiracy ซึ่งเป็นสารคดีที่มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์แตกออกเป็นสองฝ่าย ดาราและผู้มีชื่อเสียงหลายคนออกมาชื่นชมว่าสารคดีเรื่องนี้เป็น “การเปิดโปงแบบถึงลูกถึงคนของการทำประมงอันเป็นภัยร้ายแรงที่สุดต่อชีวิตในท้องทะเล” แต่ในขณะเดียวกันก็มีองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร แบรนด์สินค้าที่เน้นเรื่องความยั่งยืน และผู้เชี่ยวชาญบางส่วนที่ให้สัมภาษณ์ในสารคดี ออกมากล่าวหาว่าผู้ผลิตสารคดีดังกล่าวสร้างเนื้อหาที่ชวนให้เกิดความเข้าใจผิด โดยนำเสนอบทสัมภาษณ์อย่างไม่คำนึงถึงบริบท และแสดงสถิติที่มีข้อผิดพลาด คุณมีความเห็นต่อประเด็นนี้อย่างไรบ้าง?

 

Guido: ผมคิดว่าทุกคนน่าจะเห็นพ้องต้องกันว่าสารคดีเรื่องนี้ต้องการสื่อสารเกี่ยวกับภัยอันตรายทางนิเวศวิทยาที่เกิดจากอุตสาหกรรมประมง ซึ่งเป็นปัญหาที่สร้างความกังวลให้กับหลายๆ ฝ่าย แต่ถ้าว่ากันตามตรง เราควรจะร่วมกันนำเสนอข้อเท็จจริง ไม่ใช่เรื่องแต่ง และสามัคคีกันในเรื่องนี้ ตลอดจนหามติร่วมกันและสนับสนุนการโต้แย้งอย่างมีเหตุผลเพื่อเป็นตัวโน้มน้าวให้ผู้คนเปลี่ยนพฤติกรรม การจงใจละเลยกรณีความสำเร็จมากมายอันเกิดจากการบริหารจัดการที่ดี คือสาเหตุที่ทำให้ชุมชนด้านวิทยาศาสตร์ต่างๆ มีมุมมองต่อปัญหาดังกล่าวแบบสุดโต่ง

 

Tom: คุณคิดว่าการนำเสนอแบบผิดๆ ที่ร้ายแรงที่สุดที่สารคดีเรื่องนี้นำเสนอออกมาคืออะไร?

 

Guido: ข้อผิดพลาดที่ใหญ่ที่สุดคือการบอกว่าการทำประมงที่ยั่งยืนไม่มีอยู่จริง อย่างที่พวกเราทราบกันดี ระบบการผลิตอาหารส่งผลกระทบต่อธรรมชาติ แน่นอนว่า มีบุคคลและหน่วยงานบางกลุ่มที่รับรู้ถึงการมีอยู่ของการทำประมงที่ยั่งยืน จากการประเมินครั้งล่าสุดขององค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ พบว่า เกือบ 2 ใน 3 ของปลาเพื่อการบริโภคทั้งหมด ถูกจับมาด้วยกระบวนการที่ยั่งยืน หรือเท่ากับราว 66% นอกจากนี้ 78% ของผลลัพธ์ที่ได้จากการทำประมงทางทะเลทั้งหมดมาจากแหล่งชีวภาพที่ยั่งยืน ซึ่งนั่นเป็นข้อเท็จจริงที่แตกต่างจากข้อมูลที่ Seaspiracy นำเสนอโดยสิ้นเชิง

 

Tom: หัวหน้าโครงการสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเลระหว่างประเทศ (International Marine Mammal Projects) กล่าวว่า Seaspiracy พยายามทำลายล้างองค์กรต่างๆ ที่ทำงานสำคัญเพื่อปกป้องท้องทะเลและสิ่งมีชีวิตใต้ทะเล เรื่องนี้จริงหรือไม่?

 

Guido: ถูกต้องครับ ภาพยนตร์สารคดีเรื่องนี้ควรจะนำเสนอข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องมากกว่านี้ หลายคำกล่าวที่อยู่ในสารคดีอ้างอิงมาจากงานวิจัยที่ล้าสมัย และมีการพยายามสร้างความเชื่อมโยงโดยไม่มีมูล ข้อผิดพลาดเหล่านี้อาจทำให้ผู้มีอำนาจตัดสินใจอย่างรัฐบาลมองข้ามใจความสำคัญของสารคดีชิ้นนี้ไปได้ง่ายๆ นอกจากนี้ Seaspiracy ยังขาดการนำเสนอข้อมูลจากหลากหลายมุมมอง แทบจะทั้งหมดของผู้ให้สัมภาษณ์เป็นคนผิวขาวที่มาจากประเทศโลกตะวันตก แทนที่จะเป็นบุคคลจากหลากหลายชาติพันธุ์และวัฒนธรรม ผู้ให้ข้อมูลควรจะมีทั้งบุคคลที่มาจากอุตสาหกรรมอาหารทะเล ผู้จัดการ องค์กรที่ไม่แสวงหากำไร และชุมชนในแอฟริกาหรือเอเชีย อันที่จริงภาพยนตร์สารคดีเรื่องนี้แทบจะไม่มีนักวิทยาศาสตร์ด้านการประมงมาให้สัมภาษณ์เลยด้วยซ้ำ ซึ่งในความเห็นของผมมองว่า นี่เป็นการละเลยที่เป็นช่องโหว่ใหญ่สำหรับสารคดีที่ว่าด้วยเรื่องการทำประมงเกินขนาด

 

Tom: ผู้กำกับสารคดี อาลี ทาบริซี อ้างว่าอุตสาหกรรมประมงกำลังอยู่ในวิกฤตขาลง เรื่องนี้จริงหรือไม่?

 

Guido: การทำประมงเกินขนาดเป็นปัญหาก็จริง แต่เรารู้ว่าการทำประมงที่ยั่งยืนนั้นเป็นไปได้ ถ้าหากเราละเลยเรื่องนี้ จะยิ่งเป็นการสร้างปัญหาทางทะเลให้เพิ่มมากขึ้น และจะทำให้เกิดผลกระทบที่เป็นหายนะต่อทางบกตามมา จนมนุษย์จะมองเห็นปัญหาได้ชัดขึ้น ในแง่ของคาร์บอนฟุตพริ้นท์ การทำประมงและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำภายใต้การจัดการที่ดีจะทำให้ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นน้อยลงกว่าระบบการผลิตอาหารอื่นๆ มาก ปัจจุบัน อุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำถือเป็นผู้ผลิตปลาและอาหารทะเลครึ่งหนึ่งของปริมาณทั้งหมดในโลก และเราต้องพยายามหาวิธีขยายอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อผลิตอาหารให้กับจำนวนประชากรของโลกที่เพิ่มขึ้น แม้ว่าจะมีการจัดการทำประมงที่ดีขึ้นแล้ว แต่เราก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมดูแลการประมงที่ปลอดทะเลให้ยั่งยืนได้มากนัก ดังนั้น เราจึงฝากอนาคตไว้กับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

 

Tom: สารคดีเรื่องดังกล่าวได้คาดการณ์สถิติหนึ่งที่น่าสะพรึงไว้ โดยอ้างอิงจากงานวิจัยในปี 2006 ว่าท้องทะเลจะปราศจากสิ่งมีชีวิตภายในปี 2048 หรือเท่ากับ 27 ปีต่อจากนี้ การประมงจะหมดสิ้นไปตามการคาดการณ์ที่ว่านี้จริงหรือไม่? เรากำลังมุ่งหน้าไปสู่เส้นทางนั้นจริงหรือ?

 

Guido: นี่ก็เป็นอีกหนึ่งข้อมูลผิดๆ ที่สารคดีเรื่องนี้เอามานำเสนอ เดิมทีคำกล่าวอ้างนี้เป็นส่วนหนึ่งในเอกสารวิจัยเมื่อปี 2006 โดยบอริส วอร์ม สิ่งที่น่าขันก็คือในเอกสารวิจัยที่ตีพิมพ์ตามมาในปี 2009 หรือ 3 ปีให้หลัง วอร์มได้ระบุว่า เขาพบว่าในบางพื้นที่ซึ่งมีการจำกัดการทำประมง ก็สามารถจับปลาได้ในยอดที่ถึงเป้า เมื่อพิจารณาข้อมูลที่งานวิจัยชิ้นนี้นำมาอ้างอิงให้ดีๆ จะพบว่าข้อมูลนี้นำมาจากการคาดเหตุการณ์ข้างหน้าที่ผิดพลาด มันเป็นงานวิจัยที่มีข้อสงสัยตั้งแต่แรก งานวิจัยที่ใหม่กว่าในปี 2016 ซึ่งรายงานโดย National Academy of Science of the United States คาดการณ์ว่า กว่า 50% ของจำนวนปลาสำหรับบริโภคทั้งหมดจะมาจากกระบวนการที่ยั่งยืนภายในปี 2050 และแน่นอนว่าการทำประมงเกินขนาดเป็นปัญหาในบางภูมิภาค แม้กระทั่งในภูมิภาคที่บังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการจัดการการประมงซึ่งอิงตามหลักฐานทางวิทยาศาสตร์อย่างถูกต้อง เรื่องปริมาณของปลาเพื่อบริโภคก็ดำเนินเป็นไปในทางที่ดี

 

Tom: คุณมีความเห็นอย่างไรต่อข้อมูลต่างๆ ที่ถูกนำเสนอผ่านสารคดีเรื่องดังกล่าวหรือไม่? หรืออยากจะฝากอะไรเพื่อยืนยันให้ผู้คนมั่นใจว่าอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำยังคงยึดถือและปฏิบัติตามหลักการความยั่งยืนสักหน่อยไหมครับ?

 

Guido: ลองมาดูเรื่องข้อมูลเกี่ยวกับหอยที่มาจากการเพาะเลี้ยงในฟาร์มแล้วกันครับ เช่น หอยนางรม หอยแมลงภู่ และหอยเชลล์ หอยเหล่านี้คือหนึ่งในอาหารที่ยั่งยืนที่สุด เพราะสัตว์เหล่านี้ไม่ต้องการอาหารเสริม และสามารถสร้างโภชนาการได้โดยตรงจากกระแสน้ำทะเลในพื้นที่เพาะเลี้ยง ด้วยเหตุนี้ หอยเหล่านี้จึงสามารถนำเอาแสงอาทิตย์มาช่วยสร้างเป็นโปรตีนสัตว์ที่อุดมไปด้วยสารอาหารผ่านพืชที่อยู่ในรูปแบบของแพลงตอน และในบางกรณี การเลี้ยงหอยยังช่วยลดมลพิษและปรับปรุงคุณภาพของน้ำให้ดีขึ้นได้อีกด้วย ยกตัวอย่างเช่น ปุ๋ยที่ไหลมาจากการทำฟาร์มบนบกคือสาเหตุที่พบบ่อยที่ก่อให้เกิดมลพิษในน้ำ แต่หอยสามารถกรองของเสียงเหล่านี้ออกจากแหล่งน้ำได้ โดยเปลี่ยนให้กลายเป็นอาหาร ซึ่งกระบวนการนี้เองยังนำมาซึ่งประโยชน์เพิ่มเติม นั่นคือช่วยลดโอกาสที่จะเกิดสาหร่ายเป็นพิษสะพรั่งในพื้นที่ที่มีการทำฟาร์มหอยอีกด้วย

หากเราศึกษาลึกลงไปอีกจะพบว่าค่า Fish In Fish Out หรือที่อุตสาหกรรมเราเรียกว่า FIFO จะอยู่ที่ 0.27 ซึ่งหมายความว่าเราต้องใช้ปลาที่มาจากแหล่งธรรมชาติจำนวน 270 กรัมในการผลิตปลาจากแหล่งเพาะเลี้ยงจำนวน 1 กิโลกรัม ค่า FIFO นี้คำนวณโดยคิดจากจำนวนปลาที่จับมาและใช้กระบวนการผลิตอาหารเพาะเลี้ยงปลา และจำนวนปลาที่บริโภคอาหารเหล่านั้น เท่ากับว่าถ้าหากเรานำวิธีนี้มาคำนวณกับการผลิตที่ Alltech Coppens เราจะมีค่า FIFO อยู่ที่ 0.10 ซึ่งหมายความว่าเราต้องใช้ปลาจากแหล่งธรรมชาติจำนวน 100 กรัมในการผลิตปลาจากแหล่งเพาะเลี้ยงจำนวน 1 กิโลกรัม

 

ฟังดูเป็นวิธีที่ยั่งยืนสำหรับผมนะ เราใช้ปลา 1 กิโลกรัมเพื่อเพิ่มจำนวนปลาใหม่ 10 กิโลกรัม นอกจากนี้ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากปลาที่มาจากแหล่งเพาะเลี้ยงยังน้อยกว่าผลิตภัณฑ์บางอย่างที่เราใช้ในชีวิตประจำวันอย่างมีนัยยะสำคัญด้วยนะ ทอมครับ คุณทราบไหมว่า กาแฟและช็อกโกแลตมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงกว่าปลาจากแหล่งเพาะเลี้ยงถึง 3-4 เท่า และแม้กระทั่งน้ำมันที่ดีต่อสุขภาพ อย่างพวกน้ำมันมะกอก ก็ยังส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่าปลาที่มาจากแหล่งเพาะเลี้ยงเสียอีก ที่สำคัญ อัตราการแลกเนื้อของปลาบางสายพันธุ์ที่เราผลิตอาหารให้นั้นอยู่ที่ต่ำกว่า 1 ซึ่งหมายความว่า เราใช้ปริมาณอาหารน้อยกว่า 1 กิโลกรัมในการผลิตปลา 1 กิโลกรัม ลองนำตัวเลขเหล่านี้เก็บไปพิจารณาดูครับ ผมว่ามันยั่งยืนนะ คุณว่าไหม?

 

Tom: เป็นการเปรียบเทียบที่น่าสนใจจริงๆ และช่วยทำให้เรามองเห็นภาพได้ชัดเจนยิ่งขึ้น และนี่คือ กิวโด โครลลา ผู้จัดการแผนกจัดซื้อของ Alltech Coppens ขอบคุณมากครับ กิวโด

 

Guido: ขอบคุณครับ ทอม

<>Premium Content
Off
<>Featured Image
<>Date
<>Featured Image License
Off
<>Feature
Off
<>Primary Focus Area
<>Article Type
<>Image Caption

ข้อมูลการประเมินล่าสุดโดยองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ พบว่า 2 ใน 3 ของจำนวนปลาเพื่อการบริโภคทั้งหมดถูกจับมาด้วยกระบวนการที่ยั่งยืน

อาหารสำหรับเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน

Submitted by kpoolsap on Mon, 07/26/2021 - 07:09

เมื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำวิวัฒนาการเป็นระบบการเพาะเลี้ยงที่มีความซับซ้อนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เราจึงจำเป็นต้องปรับอาหารที่ใช้เลี้ยงสัตว์น้ำ อาทิ ปลาและกุ้ง ไปพร้อมๆ กัน เบน แลมเบอริกส์ ผู้จัดการด้านคุณภาพ การวิจัย และโภชนาการ ประจำ Alltech Coppens ได้กล่าวแสดงวิสัยทัศน์ในงาน Alltech ONE Ideas Conference เมื่อเดือนมิถุนายน 2021 โดยนำเสนอข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับโภชนาการสำหรับสัตว์น้ำเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน ผ่านหลัก 4 ประการ

สถานการณ์ปัจจุบันของการผลิตอาหารสำหรับสัตว์น้ำ

อุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่เติบโตอย่างรวดเร็วนำมาซึ่งปริมาณความต้องการอาหารเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่มีคุณภาพดีเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ปลาป่นที่มีอยู่ในตลาดนั้นมีจำกัด และแม้ว่าเราจะลดปริมาณความต้องการปลาป่น (Fishmeal) ทั้งหมดในโลกลง 50% แล้ว เราก็ยังต้องผลิตปลาป่นให้ได้เกือบ 1.5 ล้านตันภายในปี 2050 ซึ่งเราไม่มีทรัพยากรมากเพียงพอ

"ปัญหานี้เป็นความท้าทายที่เราต้องแก้ไขให้ได้ก่อน จึงจะสามารถพัฒนาอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เติบโตได้" เบน แลมเบอริกส์ กล่าว “ธุรกิจต่างๆ ในอุตสาหกรรมกำลังหาวิธีการแก้ไขปัญหานี้ให้ได้สำเร็จ ซึ่งกระบวนการก็กำลังคืบหน้าไปได้ด้วยดี”

ถึงเราจะสามารถลดค่า Fish In Fish Out (FIFO) ลงมาได้ตั้งแต่ช่วงทศวรรษที่ 1990 เป็นต้นมา แต่เราก็ยังต้องการทางเลือกอื่นๆ สำหรับใช้ทดแทนปลาป่น เช่น

  • ผลิตภัณฑ์พลอยได้จากสัตว์ (ฮีโมโกลบิน เลือดป่น เนื้อสัตว์ปีกป่น)

  • แหล่งโปรตีนจากพืช (กากเมล็ดทานตะวัน โปรตีนจากข้าวสาลี กากถั่วเหลือง)

  • แมลงป่น (หนอนนก หนอนแมลงวันลาย)

  • ผลิตภัณฑ์พลอยได้จากการบริโภคของมนุษย์ (ผลิตภัณฑ์พลอยได้จากปลาหรือแซลมอน)

ในขณะที่การผลิตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำทั่วโลกอยู่ที่อัตรา FIFO 0.27 Alltech Coppens สามารถลดค่า FIFO ลงได้เหลือ 0.10 ซึ่งหมายความว่าเราใช้ปลาจากแหล่งธรรมชาติเพียง 100 กรัมเพื่อการผลิตปลาจากแหล่งเพาะเลี้ยง 1 กิโลกรัม

Alltech Coppens ใช้วิธีการอะไร?

เราเข้าใจความต้องการที่แท้จริงของปลา

 อันดับแรก เราต้องเข้าใจพื้นฐานเรื่องโภชนาการเสียก่อน” แลมเบอริกส์กล่าว “ไม่มีปลาตัวไหนที่มีความจำเป็นต้องบริโภคปลาป่น หรือวัตถุดิบเฉพาะ”

คุณสมบัติของอาหารที่ปลาต้องการ ได้แก่

  • สารอาหารที่จำเป็น เช่น โปรตีนที่ย่อยได้ ไขมันเพื่อเป็นพลังงาน วิตามิน และแร่ธาตุ

  • อาหารที่มีรสชาติดี เพื่อดึงดูดให้ปลากินอาหาร

  • คุณภาพน้ำที่ดีในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เพราะปลาจะว่าย ขับถ่าย และกินอาหาร อยู่ในสภาพแวดล้อมเดียวกันทั้งหมด

เมื่อเราผลิตอาหารทางเลือกได้ตามคุณสมบัติเหล่านี้ อาหารทางเลือกก็จะไม่ใช่แค่ตัวเลือกสำรองอีกต่อไป” แลมเบอริกส์ กล่าว “เราจำแนกคุณสมบัติต่างๆ ออกมาเป็นตัวชี้วัด เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบผลลัพธ์กันระหว่างแต่ละทางเลือก และผลลัพธ์ระหว่างทางเลือกใหม่กับปลาป่นได้ดีขึ้น”

วิธีการนี้ถูกนำมาใช้กับอาหารของมนุษย์เช่นกัน ตัวอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชัดคือคะแนนทางโภชนาการบนบรรจุภัณฑ์อาหาร การให้คะแนนทางโภชนาการและการให้คะแนนความยั่งยืนช่วยให้ผู้บริโภคสามารถเปรียบเทียบระหว่างผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ ข้อมูลบนฉลากและภาพสัญลักษณ์เหล่านี้เองคือสื่อที่ผู้ผลิตนำมาใช้เพื่อช่วยให้ผู้บริโภคตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง

นี่คือสิ่งที่ Alltech Coppens ดำเนินการมาโดยตลอดเพื่อพัฒนาทางเลือกสำหรับทดแทนปลาป่น โดยใช้วิธีจำแนกทางเลือกต่างๆ โดยอิงจากตัวชี้วัดที่แตกต่างกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มหลัก คือ รสชาติ (Palatability) ประสิทธิภาพ (Performance) มลภาวะ (Pollution) และความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Planet)

4 สิ่งสำคัญของโภชนาการปลาเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน

1. รสชาติ (Palatability): อาหารต้องอร่อยสำหรับปลา

รสชาติเป็นเสาหลักที่สำคัญที่สุด เพราะถ้าปลาไม่กินอาหาร ปลาก็จะไม่ได้ผลลัพธ์ใดๆ จากอาหาร และทำให้การควบคุมมลภาวะแย่ไปด้วย” แลมเบอริกส์ อธิบาย

กราฟด้านล่างแสดงผลจากการทดลองกับปลาเรนโบว์เทราต์ที่ระดับการให้อาหารสูงสุด แกน y แสดงถึงปริมาณอาหารที่ปลาได้รับในอัตราการเผาผลาญเป็นกรัม/กิโลกรัม และแกน x แสดงรสชาติ

เปรียบเทียบการให้อาหาร 2 วิธี ได้แก่

·         เส้นสีน้ำเงิน: 100% ของโปรตีนมาจากปลาป่น (อาหารปลาป่น)

·         เส้นสีเขียว: 100% ของโปรตีนมาจากผัก (อาหารผัก)

อาหารสำหรับสองกลุ่มตัวอย่างถูกเปลี่ยนในวันที่ 4 ของการทดลอง สิ่งที่น่าสนใจคือ ระดับการให้อาหารลดลงสำหรับอาหารทั้งสองชนิด นั่นหมายความว่าแม้แต่ปลาที่ได้รับอาหารผักก่อนวันที่ 4 และเปลี่ยนมากินอาหารที่มีรสชาติมากกว่า (อาหารปลาป่น) ก็มีระดับการให้อาหารลดลงเช่นกัน แต่สุดท้ายแล้ว ระดับการให้อาหารที่ลดลงนั้นฟื้นตัวได้รวดเร็วกว่ากลุ่มอื่นมาก

จากการทดลองนี้พบว่ามีตัวชี้วัดที่สำคัญสองประการเกี่ยวกับรสชาติอาหาร คือ

  1. ระดับการให้อาหารลดลงหลังจากเปลี่ยนอาหาร

  2. ระยะเวลาการฟื้นตัวที่จำเป็นหลังจากเปลี่ยนอาหาร

"ถ้าเราสามารถวัดปริมาณผลกระทบที่เกิดกับอาหารทางเลือกทั้งหมดได้ เราจะสามารถคำนวณและสร้างสูตรผสมที่ดีที่สุดระหว่างทางเลือกต่างๆ ได้ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์เดียวกับที่ได้จากปลาป่น" แลมเบอริกส์ กล่าว

2. ประสิทธิภาพ: ปลาต้องการสารอาหารที่จำเป็น

พลังงานเป็นตัวขับเคลื่อนการเจริญเติบโต เมื่อระดับพลังงานเพิ่มขึ้น อัตราส่วนการแลกเนื้อ (Feed Conversion Ratio: FCR) จะลดลงและประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของสัตว์จะเพิ่มขึ้น

นอกจากนี้ พลังงานยังคิดเป็น 70% ของต้นทุนอาหารสัตว์

"ถ้าหากเราเพิ่มระดับพลังงานของอาหารสัตว์ขึ้น 10% อาหารสัตว์นั้นจะมีราคาเพิ่มขึ้น 70%" แลมเบอริกส์ กล่าว

คำว่าพลังงานในที่นี้หมายถึงอะไร?

พลังงานรวม (Gross Energy) คือพลังงานที่มีอยู่ในส่วนผสมของอาหารสัตว์ ถ้าหากสัตว์สามารถย่อยพลังงานนั้นได้ พลังงานดังกล่าวจะกลายเป็นพลังงานที่ย่อยได้ (Digestible Energy) ถ้าหากพลังงานที่ย่อยได้ถูกนำเข้าสู่ร่างกายของสัตว์หรือมีการเก็บรักษาอย่างถูกต้อง พลังงานดังกล่าวจะกลายเป็นพลังงานสุทธิ (Net Energy)

การเปรียบเทียบพลังงานสุทธิของอาหารสัตว์ประเภทต่างๆ  ตลอดจนการพิจารณาเรื่องรสชาติและความยั่งยืน จะช่วยให้ผู้ผลิตสามารถเลือกอาหารที่ดีที่สุดเพื่อประสิทธิภาพที่ดีได้

3. มลภาวะ: ปลาต้องการคุณภาพน้ำที่ดี

ปัจจัยหลัก 3 ประการที่ส่งผลต่อคุณภาพน้ำ ได้แก่

·         อาหารที่ปลาไม่กิน

·         การขับถ่ายแอมโมเนียและฟอสฟอรัส

·         มูล (จมได้เร็วแค่ไหน ส่วนใดจมตัวได้ และส่วนใดแขวนลอย)

ตัวอย่างของการควบคุมมลภาวะ ได้แก่ ความสามารถในการย่อยไขมัน ซึ่งขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของน้ำเป็นหลัก มลภาวะในแง่ของไขมันกำลังกลายเป็นปัญหาใหญ่ในฟาร์มปลาเทราท์ที่มีอุณหภูมิน้ำต่ำ (ต่ำกว่า 8 องศาเซลเซียส) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่ฟาร์มมีระดับการให้อาหารสูง

กรดไขมันที่มีจุดหลอมเหลวต่ำ เช่น น้ำมัน linseed หรือน้ำมันถั่วเหลือง จะมีความสามารถในการย่อยไขมันสูง ในกรณีนี้ แม้ว่าอุณหภูมิของน้ำจะลดลง ก็ส่งผลกระทบน้อย

Alltech Coppens มีองค์ความรู้ในเรื่ององค์ประกอบของกรดไขมันที่อยู่ในแหล่งโปรตีนทางเลือกทดแทนปลาป่นและน้ำมันปลา จึงสามารถใช้วิธีการนี้เพื่อคาดคะเนความสามารถในการย่อยของไขมันและป้องกันไขมันไม่ให้ปนเปื้อนในน้ำได้

4. ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม: ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมของอาหารสัตว์

แลมเบอริกส์ กล่าวว่า "ด้วยแนวคิดความยั่งยืนขององค์กรเราและความมั่นใจว่าเราสามารถขับเคลื่อนอุตสาหกรรมนี้ให้เติบโตต่อไปได้ เราจึงมีความจำเป็นที่จะต้องวัดปริมาณผลกระทบของผลิตภัณฑ์ วัตถุดิบ และแหล่งโปรตีนทางเลือกทดแทนปลาป่นของเราที่มีต่อสิ่งแวดล้อม"

Alltech Coppens ได้ดำเนินการดังกล่าวผ่านการประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment: LCA) โดยไม่เพียงแต่พิจารณาถึงคาร์บอนฟุตพริ้นท์ที่เกิดจากส่วนผสมชนิดใดชนิดหนึ่งเท่านั้น แต่ยังพิจารณาไปถึงขั้นตอนต่างๆ ของการผลิต การใช้ การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ และการบำบัดของเสียด้วย

เมื่อ Alltech Coppens พิจารณาผลกระทบทั้งหมดนี้เข้าด้วยกันแล้ว จึงทำให้ได้ออกมาเป็นคะแนนความยั่งยืนรวมของวัตถุดิบต่างๆ ซึ่งช่วยให้ลูกค้าสามารถเลือกอาหารสัตว์ที่ยั่งยืนได้อย่างเหมาะสม

"ถ้าเราวัดปริมาณและ 4 ป้จจัยหลักทั้งหมดนี้ได้ และใส่ข้อมูลในระบบซอฟต์แวร์ เราก็จะสามารถสร้างส่วนผสมที่ดีที่สุดของแหล่งโปรตีนทางเลือกของเรารวมทั้งปลาป่นในราคาต่ำที่สุดและมีคุณภาพดีที่สุดได้" แลมเบอริกส์ กล่าว

ในช่วงท้ายของการบรรยาย แลมเบอริกส์ หวังว่าผู้ฟังจะเล็งเห็นว่าแหล่งโปรตีนทางเลือกทดแทนปลาป่นนั้นไม่ใช่แค่ตัวเลือกสำรอง แต่เป็นส่วนผสมแบบหนึ่ง

แมลงป่น โปรตีนถั่วเหลือง เนื้อสัตว์ปีกป่น หากเราสามารถวัดปริมาณตัวชี้วัดที่อยู่เบื้องหลังส่วนผสมเหล่านี้ได้ เราก็จะสามารถใช้วัตถุดิบเหล่านี้ได้อย่างเหมาะสม” แลมเบอริกส์ กล่าวแนะนำ “เมื่อเราพิจารณาถึงความยั่งยืน การควบคุมมลภาวะ ประสิทธิภาพ และรสชาติ เราก็จะสามารถใช้แหล่งโปรตีนทางเลือกและปลาป่นประเภทต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง และขับเคลื่อนการเติบโตของอุตสาหกรรมอาหารสัตว์น้ำของเราได้สำเร็จ”

<>Premium Content
Off
<>Featured Image
<>Date
<>Featured Image License
Off
<>Feature
Off
<>Article Type

El portal de Gestión de micotoxinas Alltech® se actualiza para que los usuarios puedan sacarle más provecho

Submitted by mmolano on Mon, 07/26/2021 - 06:06

La digitalización de la agricultura y de la ganadería se percibe cada vez más como una de las vías clave del sector para solucionar algunos de los desafíos acuciantes que asedian al bienestar animal, a la seguridad alimentaria y a la sostenibilidad del medio ambiente. Como en la mayoría de las industrias, la recogida de datos constituye escasas veces un problema. Más bien, son la interpretación de estos datos y su traslación a conocimientos profundos y prácticos, los factores limitantes del valor auténtico de las nuevas tecnologías que van apareciendo.

Globalmente, las micotoxinas son una amenaza omnipresente en la cadena de suministro de los piensos, y plantean no solo una amenaza para la salud de los animales, sino también para la salud de las personas, especialmente en regiones como África y Asia, donde factores como la meteorología extrema y algunas veces una infraestructura poco desarrollada significan que elevados niveles de micotoxinas pueden contaminar los alimentos, y por consiguiente, la cadena alimentaria. Solamente en EEUU, en el año 2018, se estima que 63,5 millones de toneladas métricas de grano fueron contaminadas por micotoxinas. Debido a la naturaleza invisible de las micotoxinas, el único método exacto para identificar la contaminación de los ingredientes de los piensos o del pienso acabado es la realización de análisis de micotoxinas, lo que significa que estos datos son cruciales para la producción segura de alimentos para animales. Las tecnologías analíticas para detectar la presencia de micotoxinas continúan avanzando y proporcionan un mayor conocimiento de la amenaza de las micotoxinas. Los métodos analíticos más utilizados habitualmente incluyen la cromatografía, la inmunodetección o la cromatografía líquida acoplada con espectrometría de masas, y cada año, cantidades ingentes de datos de tests de micotoxinas son recogidos en diferentes puntos dentro de la cadena de suministro de piensos.

Una de las tareas clave del Programa de Gestión de Micotoxinas de Alltech® consiste en hacer a las micotoxinas más visibles y equipar a todas las partes interesadas a lo largo de la cadena de suministro de piensos, con la mejor información posible para tomar decisiones efectivas cuando se trate de controlar las micotoxinas. La realización de análisis constituye una pieza crucial de este proceso, y entre los laboratorios de Alltech 37+® y los kits Alltech RAPIREAD® de análisis de campo, se realizarán este año casi 30.000 análisis de micotoxinas, ayudando a revelar el alcance de la presencia de las micotoxinas en los piensos a escala global.

Acceso a un mundo de datos sobre micotoxinas

Desde su lanzamiento inicial y usando datos generados por tests de laboratorio y de campo, el Portal de Gestión de Micotoxinas Alltech® ha proporcionado a los usuarios una herramienta online fácil de usar, donde ellos puedan visualizar y gestionar los resultados de sus análisis. Reconociendo la importancia de participar de forma activa en la gestión y utilización de estos datos, y de generar ideas relevantes para ponerlas en práctica, el Equipo de Gestión de Micotoxinas Alltech® ha lanzado recientemente una versión actualizada de su Portal.

Con las recientes actualizaciones, los usuarios ahora cuentan con acceso a toda una serie de prestaciones innovadoras, con un especial énfasis en la visualización de los datos de los análisis de micotoxinas en un formato de fácil comprensión. Los usuarios dispondrán de un acceso seguro las 24 horas del día a los datos de sus análisis, podrán visualizar las tendencias globales de la contaminación por micotoxinas, podrán evaluar el riesgo existente para las diferentes especies, y comparar los patrones seguidos por las micotoxinas en los distintos ingredientes y períodos de tiempo. Conocer el riesgo de las micotoxinas es un paso importante, aunque Alltech también cree firmemente en la necesidad de cuantificar lo que en realidad supone ese riesgo para el negocio ganadero en términos de rendimientos físico y económico. La evaluación del riesgo, usando herramientas como REQ-Valor de Riesgo Equivalente y Alltech PROTECT™, permite a nuestros equipos trabajar con los productores para comprender profundamente el impacto potencial de las micotoxinas en su ganado y los pasos necesarios para mitigar con éxito los desafíos que representan.

John Winchell, representante comercial de Alltech en el noreste de EEUU ha estado analizando intensamente los datos de los análisis de micotoxinas durante los últimos años, para comprender mejor las complejidades y los métodos más efectivos, para controlar el riesgo por micotoxinas en las explotaciones agropecuarias en esa región, una zona comúnmente conocida como “la central de las micotoxinas”. Además de hacer pruebas en los piensos en busca de micotoxinas, John Winchell ha estudiado también los patrones meteorológicos y las enfermedades de los cultivos, para elaborar una mejor visión global de los factores que pueden impactar en la calidad de los piensos y posteriormente en la productividad de los animales.

“Estoy muy emocionado por lo que el nuevo Portal pueda aportar, tanto a mis clientes como a mí” comenta Winchell. “Estudiar las micotoxinas es fascinante, y herramientas como ésta, únicamente pueden ayudarnos a avanzar en nuestra comprensión de lo que necesitamos para mitigar de manera efectiva este desafío incesante”.

Un clima cambiante y patrones meteorológicos más adversos, el cambio a prácticas agrícolas más regenerativas y los nuevos marcos normativos agrarios diseñados para potenciar la sostenibilidad, son solo algunos de los factores que van a ejercer un impacto en los perfiles de contaminación por micotoxinas en los próximos años. Ahora más que nunca, se necesitarán datos exactos de toda la cadena de suministro de piensos para frenar el impacto negativo de las micotoxinas en toda la cadena de suministro de alimentos. Sacando ventaja de los avances de las capacidades técnicas de gestión de datos, probablemente los mejores resultados lleguen a partir de un método de gestión integral, que incluye información de la pre-cosecha, como por ejemplo las prácticas agronómicas, la meteorología y la situación de los cultivos, a lo largo de todo el camino hasta la realización de análisis de micotoxinas en la post-cosecha y  su almacenamiento. Estos métodos requerirán inexorablemente la necesidad de colaboraciones innovadoras entre organizaciones dentro y fuera del sector agropecuario. Este tipo de pensamiento colaborativo representa una verdadera oportunidad que nos asegure, que estamos minimizando el despilfarro en la cadena de suministro de alimentación animal, proporcionando a los animales piensos de la mejor calidad para una productividad óptima, y entregando al consumidor final alimentos producidos de manera sostenible y segura.

Para saber más acerca del Programa de Gestión de Micotoxinas de Alltech y del Portal actualizado recientemente, por favor, visite knowmycotoxins.com o contacte con AlltechSpain@alltech.com

<>Premium Content
Off
<>Featured Image
El portal de Gestión de micotoxinas Alltech® se actualiza para que los usuarios puedan sacarle más provecho
<>Date
<>Featured Image License
Off
<>Feature
Off
<>Primary Focus Area
<>Article Type

Feeding performance horses in 5 easy steps

Submitted by lkilian on Mon, 07/26/2021 - 04:29

Okay, let’s get real: While nutrition is one of the most important ways to influence any animal’s health, feeding horses is not rocket science, and we tend to overcomplicate equine nutrition.

While performance horses often have more specific nutrient requirements than the average horse at maintenance, all horses have the same general needs, and keeping it simple when it comes to feeding is the best method for reaching maximum horse health.

Here, we will break it down step by step so that you can make sure your horses receive exactly what they need.

1. Determine your horses’ energy needs based on their exercise and training schedule.

Before we get ahead of ourselves, it is important to take an honest inventory of your horse’s training regimen. The key word here is “honest” — but we’ll get back to that in a moment.

According to The Nutrient Requirements of Horses (NRC), there are four categories of activity level and intensity:

  • Light exercise: One to three hours per week of mostly walking and trotting.
  • Moderate exercise: Three to five hours per week of mostly trotting, with some walking and cantering and some skilled work, like jumping, dressage, cutting or ranch work.
  • Heavy exercise: Four to five hours per week of trotting, cantering, galloping and skilled work.
  • Very heavy exercise: One hour per week of speed work and/or six to 12 hours per week.

Generally, the only horses that fit into the “very heavy” category are racehorses, elite endurance horses or three-day-eventing horses, while most other horses fit into the light or moderate exercise categories.

It’s very easy for us to overestimate our horses’ workload. Keep in mind that modern horses evolved from animals who often traveled 40 to 50 miles per day! They had to really work for their meals, which is not the case for domestic horses. The reason it is important to be honest with yourself about your horse’s activity level is that if you have a horse in the light or moderate category who you unintentionally feed at the heavy or very heavy level, you will likely be at risk for overfeeding, which can have detrimental and debilitating health consequences for your horse.

You may be surprised to learn that some horses who do light to moderate exercise do not require energy in amounts much higher than what is needed for maintenance. On the other hand, some performance horses require up to twice as much energy as a horse at maintenance. It’s all about taking each individual animal’s unique blend of genetics, age and metabolism into account, as well as their exercise intensity and duration. A qualified equine nutritionist can help you determine the winning formula for your horse.

2. Always, always, always start with hay (and a hay test).

Energy can be supplied in the diet by carbohydrates and fat. Carbohydrates fall into two categories: non-structural and structural.

Non-structural carbohydrates (NSCs) come from sugars and starches, primarily from grain concentrates. Most performance horses require some form of NSC, and while there is no reason to fear feeding sugar and starch — sometimes glucose is necessary! — they do tend to be more problematic for our equine friends. As such, it is important to limit the NSCs in the diet to what the horse really needs based on its age and exercise intensity.

Structural carbohydrates, on the other hand, include fiber from forage sources and are one of the most critical components in making sure that the horse’s hindgut functions optimally. Remember: A happy hindgut equals a happy horse.

The large intestine in the horse’s digestive tract is home to billions of beneficial microbes that digest fiber and produce volatile fatty acids (VFAs), which are used as a source of energy. This is the reason why hay alone can meet the energy requirements of some horses. Fiber helps keep the large intestine at the correct pH balance and greatly reduces the risk of colic. After all, forage is what horses were designed to eat and should always be fed at a minimum of 1% of the animal’s body weight per day. The forage component of a horse’s diet also takes pasture grasses into account, so be sure to factor in how much turnout your horse receives.

If you are feeding performance horses, invest in a hay test, which will tell you the exact nutrient levels and help you determine which nutrients need to be added to the diet (based on equine requirements) in the form of grain and horse supplements.

We should also note that good-quality fat is an easy — and, often, safer — way to increase energy in a performance horse’s diet. Fats will be used by the horse’s body during aerobic exercise, which can help save the glucose from NSCs for high-intensity or long-duration exercise. 

3. Remember the importance of water and salts.

While these nutrients are often overlooked, adequate access to fresh, clean water and iodized salt is crucial for all animals, but especially for performance horses.

When exercised in hot, humid weather, horses could lose up to four gallons of sweat per hour! Additionally, horse sweat is hypertonic, meaning that it contains higher levels of electrolytes than what is circulating in the body. Human sweat, in contrast, is hypotonic, meaning that there is a higher concentration of electrolytes circulating in the body than what is in our sweat. This means that giving a sweaty horse plain water will only further dilute the concentration of electrolytes in its body. Given that electrolytes are required to maintain the fluid balance and electrical activity of each cell, they are hugely important for performance!

In normal circumstances when a horse is only emitting small amounts of sweat, an iodized white salt block or loose salt, in addition to hay and grain, will do the trick. If weather and exercise — or some other form of stress, like long-distance travel — lead to prolonged, excessive sweating, providing a high-quality electrolyte supplement with potassium, sodium and chloride is a very good idea.

4. Don’t overdo protein.

Many horse owners accidentally misunderstand how protein should be used in their horses’ diet. As mentioned above, adding energy (or extra calories) to the diet is done with carbohydrates or fat. While protein and, more specifically, levels of certain amino acids are required for growth, muscle and the maintenance of body systems, protein is an inefficient energy source.

Horses have requirements for essential amino acids, the most important of which are lysine, methionine and threonine. This is another reason why investing in a hay test will help you to balance your performance horse’s diet. 

Horses doing light work can often meet their protein requirements (approximately 10% of their diet) from hay and pasture and the use of a ration balancer. Horses doing moderate to heavy work have higher protein requirements, which can typically be met with commercially fortified grain and/or the addition of alfalfa hay.

In general, a protein deficiency is not common in most domestic horse diets; in fact, it is more common for protein to be fed in excess, which will end up as a waste product. If you begin to notice a heavy smell of ammonia in your horse’s stall, this is a telltale sign that you may be overfeeding protein.

5. Help minimize and manage stress.

It’s no secret that performance horses endure stress. What we sometimes forget, however, is that this stress can impact almost every system in an animal’s body, from its digestive system to its musculoskeletal system. A well-rounded approach to managing performance horses includes taking all of these systems into consideration.

  • Joint and hoof health: The concussion and force that a performance horse’s limbs must endure is substantial. Providing joint-specific nutrients, like glucosamine and chondroitin sulfate, and hoof nutrients, like organic zinc and biotin, can help protect joints and hooves before damage occurs.
  • Antioxidants: Vitamin E and organic selenium are hugely important components in the performance horse’s diet to help combat muscle damage from the free radicals associated with exercise and metabolism.
  • Immune function: Organic trace minerals are important constituents of joint and hoof health — not to mention that they help promote normal nervous system function and a healthy immune system.
  • Gut health: The stress that performance horses are subject to in the forms of training, travel, new environments and more can absolutely impact their microbiome and cause digestive upset. Additionally, the need for glucose (i.e., NSCs) to power exercise is a reality for many performance horses. Gut nutrients, such as pre- and probiotics, can help minimize digestive distress and maximize safe feedings, travels and training days.

The key to feeding performance horses is moderation. No one ingredient or nutrient is beneficial when there is either a deficiency or an excess. Use common sense, pay attention to your horse’s behavior and cues, and seek balance with an equine nutritionist.

Alltech’s new line of premium equine supplements was formulated to assist with that balance. Lifeforce Elite Performance was designed to be the only horse supplement you’ll need in a performance setting to promote a healthy, whole-body stress response. We are certain that you will get your money’s worth — and your horse will also be able to tell the difference!

Check out Lifeforce here, and follow us on social media @lifeforcehorse for more tips on keeping your performance horse healthy and happy!

<>Premium Content
Off
<>Featured Image
Feeding performance horses doesn't have to be complicated. Follow the steps below to balance your horse's diet and maximize performance.
<>Date
<>Featured Image License
Off
<>Feature
Off
<>Primary Focus Area
<>Article Type
<>Image Caption

Feeding performance horses doesn't have to be complicated. Follow the steps below to balance your horse's diet and maximize performance.

KEENAN Approved MechFiber340*

Submitted by ksalber on Fri, 07/23/2021 - 10:36

*Stock photo, machine in refurbishment.

<>Machine Category
Mech Fiber
<>Image
KEENAN Approved MechFiber340
<>Size
Medium
<>New
Off
<>Notes
  • Relined
  • Heavy-duty top and additional body blades
  • Shot blasted and painted
  • Fully serviced

Type: Approved

<>ROI Vatable
Off
<>Documents
<>Machine Category (taxonomy)
<>Location
Ireland
<>Size Units
16
<>Show VAT
Off

KEENAN Approved MechFiber400*

Submitted by ksalber on Fri, 07/23/2021 - 10:27

*Stock photo, machine in refurbishment.

<>Machine Category
Mech Fiber
<>Image
KEENAN Approved MechFiber400
<>Size
Large
<>New
Off
<>Notes
  • Relined
  • Heavy-duty top and body blades
  • Shot blasted and painted
  • Fully serviced

Type: Approved

<>ROI Vatable
Off
<>Documents
<>Machine Category (taxonomy)
<>Size Units
28
<>Show VAT
Off

Alltech® Crop Science obtiene el registro como biofertilizantes para dos productos más de su línea CONTRIBUTE®

Submitted by mmolano on Fri, 07/23/2021 - 09:14

Alltech Crop Science, la división agrícola de Alltech, obtiene el registro para dos productos más como biofertilizantes para la salud de suelo, CONTRIBUTE ibK y CONTRIBUTE Aid, basados en microorganismos en el registro oficial de fertilizantes autorizados por el Ministerio de Agricultura y Pesca, Alimentación y Medio Ambiente.

El 6 de diciembre de 2017 el BOE publicó el esperado Real Decreto 999/2017 que modifica la anterior normativa básica en materia de fertilizantes (Real Decreto 506/2013) para incluir a los productos que incorporan microorganismos. Este nuevo reglamento adapta la normativa vigente al desarrollo de este nuevo tipo de fertilizantes “cuya acción es facilitar la disponibilidad de nutrientes para la planta”.

La capacidad para mejorar la productividad y la salud del suelo utilizando una nueva y exclusiva selección de microorganismo autóctonos que permiten mineralizar la materia orgánica, solubilizar nutrientes y fijar el nitrógeno ambiental, disminuyendo así la actual dependencia de abonos y fertilizantes de origen químico. Con ello, los biofertilizantes CONTRIBUTE refuerzan el principio guía de la compañía y su compromiso con nuestro entorno ambiental, contribuyendo en el desarrollo de la estrategia Farm to Fork de la Comisión Europea, cuyo objetivo es disminuir el exceso de nutrientes en el medio ambiente que repercuten negativamente en la biodiversidad y en el clima, mediante la reducción del 20% en el uso de fertilizantes de origen mineral y orgánico para 2030 y reducir en un 50% las pérdidas de nutrientes sin alterar la fertilidad del suelo.

Alltech Crop Science con su línea de productos CONTRIBUTE, participa el en proyecto Micro N, para la aplicación de microorganismos para la fijación de nitrógeno ambiental. Este proyecto en su segundo año de estudio ha verificado la eficacia de la sustitución del 30% de la fertilización nitrogenada en diferentes cultivos. Esta reducción del 30% será aportada por microorganismos autóctonos cuya función, entre otras, es la de fijar nitrógeno ambiental que es aprovechado por las plantas de manera natural.

El Nitrógeno es el segundo macronutriente esencial para las plantas después del agua y es considerado un elemento vital imprescindible. Aunque es el componente más abundante en la atmósfera, no puede ser tomado directamente por los cultivos. Hasta ahora para conseguir que los cultivos asimilen el Nitrógeno se han utilizado principalmente fertilizantes químicos basados en urea, amoniaco, óxido nitroso y nitrato, que se aplican al suelo para que las plantas lo asimilen a través de las raíces.

El uso de fertilizantes químicos tiene consecuencias negativas con el medio ambiente como la degradación de los suelos, gases efecto invernadero generados por el óxido nitroso y el riesgo químico por contaminación de nitratos y eutrofización en el agua.

Con esta aprobación, la línea CONTRIBUTE se convierte en una alternativa biológica para los cultivos, evitando el vertido de nitratos y fosfatos, entre otras sustancias, que repercuten negativamente en la biodiversidad y en el clima.

Una fuerte población de microorganismos beneficiosos esenciales para la productividad del suelo, reducen o eliminan sustancialmente los patógenos viables, mejoran el carbono y el pH del suelo. Proporcionan a las plantas los nutrientes necesarios para su desarrollo, durante la temporada de crecimiento.

Un agro bioma diverso y saludable del suelo conduce a una mejor vitalidad de la planta y a unos mayores rendimientos.

Cómo funcionan

Los productos de la línea CONTRIBUTE se aplican directamente al suelo mediante sistemas de riego o pulverización, instalándose en la zona de la rizosfera, aumentando la disponibilidad de nutrientes, promoviendo el desarrollo vegetativo y aumentando la resistencia al estrés abiótico, además estos microorganismos generan sustancias que estimulan la raíz de la planta y promueven la nutrición.

Estas cepas seleccionas y patentadas por Alltech han sido escogidas por su adaptación al medio, facilidad de implantación y capacidad para mejorar la salud de suelo, obteniendo una mayor producción y calidad de los cultivos.

<>Premium Content
Off
<>Featured Image
Alltech ® Crop Science obtiene el registro como biofertilizantes para dos productos más de su línea CONTRIBUTE ®
<>Date
<>Featured Image License
Off
<>Feature
Off
<>Primary Focus Area
<>Article Type
Loading...